MWWellness ดูแล โรคกระเพาะ ง่าย ๆ ได้ที่ตัวคุณ

ศูนย์ดูแลสุขภาพ และล้างพิษครบวงจร ดูแล โรคกระเพาะ ง่าย ๆ ได้ที่ตัวคุณ

MWWellness สำหรับโรคกระเพาะอาหารนั้น อาจจะเรียกกันว่า โรคกระเพาะ ได้ว่า เป็นโรค ที่พบได้ง่ายมาก ๆ ค่ะแม้อาจไม่ได้รุนแรงแต่ไม่ควรมองข้ามเริ่มต้นดูแลด้วยตัวคุณเอง

ดูแล โรคกระเพาะ ง่าย ๆ ได้ที่ตัวคุณ

ดูแล โรคกระเพาะ ง่าย ๆ ได้ที่ตัวคุณ


สำหรับโรคกระเพาะอาหารนั้น อาจจะเรียกกันว่า โรคกระเพาะ ได้ว่า เป็นโรค ที่พบได้ง่ายมาก ๆ ค่ะแม้อาจไม่ได้รุนแรงแต่ไม่ควรมองข้ามเริ่มต้นดูแลด้วยตัวคุณเอง

โรคกระเพาะจากกลุ่มคนทั่ว ๆ ไปนั้นเป็นโรค ที่ไม่ควรมองข้าม เพราะถึงแม้จะไม่ใช่ โรค ที่รุนแรง แต่ถ้าหากเราปล่อยไว้นาน ๆ ก็อาจทำให้เกิดแผลใน กระเพาะอาหารได้เช่นกัน ฉะนั้นแล้วเราควรทำการรักษาให้ถูกวิธีกันค่ะ

Take-care-of-gastritis-easily-at-you

โรคกระเพาะอาหาร โรคที่หลาย ๆ คนนั้น มักคุ้นชินกันเป็นอย่างดี เพราะว่าหลาย ๆ คนเป็น โรค นี้จำนวนมาก อาจจะเกิดจากพฤติกรรม การใช้ชีวิต ที่ต้องเร่งรีบในแต่ละวัน ซึ่งส่งผลทำให้การรับประทานอาหารอาจไม่ถูกต้อง จนทำให้เกิด กระเพาะอักเสบ ที่จะตามมาได้ หรือบางคนอาจเป็น ๆ หาย ๆ แต่บอกไว้เลยว่า โรคนี้นั้น สามารถก่อให้เป็นอันตรายร้ายแรงได้ ฉะนั้นเราไม่ควรมองข้าม ควรรู้สาเหตุ วิธี ป้องกัน และรู้ถึง อาการของโรคกระเพาะอาหาร ได้แก่

โรคกระเพาะอาหาร ถือเป็นโรคที่สำคัญและพบได้บ่อย โดยเฉพาะกลุ่ม วัยทำงานมาก ๆ เพราะที่อาจรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา มีความเครียดจากการทำงาน หรือรับประทานยา ที่กัดกระเพาะก็ส่งผล ที่ อาการ อาจจะส่งผลรุนแรงจนเป็นเหตุให้ผู้ป่วยต้องหยุดงานได้ หรือต้องเข้ารับการ รักษา

สาเหตุของการเกิดโรค

  • อาจเกิดจากการ ติดเชื้อแบคทีเรีย เอชไพโลไร
  • เกิดจากการรับประทานยา ที่กัดกระเพาะ โดยมีกลุ่มต้านการ อักเสบ หรือ ยาแก้ปวด ค่ะ ยกตัวอย่างเช่น แอสไพริน ไอบูโพรเฟน ก็ส่งผลเช่นกัน
  • สาเหตุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้เช่นกัน อย่างเช่น สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมของการใช้ชีวิตเป็นหลักที่ทำให้กระบวนการต่าง ๆ ภายใน ทำงานได้ผิดเพี้ยนค่ะ
  • นอกจากนี้ แล้วยังมีปัจจัยที่มีความเสี่ยงดังกล่าวแล้ว ยังพบว่า “พฤติกรรม” ต่าง ๆ นั้น ที่ใช้ชีวิตก็มีส่วนกระตุ้นให้ก่อให้เกิดโรคกระเพาะอาหารอักเสบ มากขึ้นด้วย ทั้งเรื่องของ การทานอาหารไม่ตรงเวลา การทานอาหารอย่างเร่งรีบในแต่ละวัน ความเครียด การวิตกกังวลต่าง ๆ รวมไปถึงการรับประทานอาหาร ที่ส่งผลให้เกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะและลำไส้ ได้นั่นเองค่ะ

อาการโดยทั่วไปของ โรคกระเพาะอาหาร

อาการที่สามารถสังเกตได้ ที่บ้านของคุณมี ดังนี้

  • ปวด จุก เสียด และมีอาการ แน่นบริเวณ ที่ใต้ลิ้นปี่
  • ปวดท้อง รู้สึกไม่สบาย ช่องท้อง ในส่วนบน
  • ท้องเฟ้อ ท้องอืด เรอ บ่อย ๆ
  • ปวดท้อง ก่อน และ หลัง รัประทานอาหาร
  • ปวดท้อง ตอนท้องว่าง หรือ ปวดท้องกลางดึกได้
  • มี อาการ ปวดท้อง แบบเป็น ๆ หาย ๆ ตลอดควรปรึกษาแพทย์
  • คลื่นไส้ หรืออาเจียน หลังจากรับประทานอาหาร
  • อาเจียน หรือ ถ่ายเป็นเลือด เพราะว่าเนื่องจากมีเลือดออกใน กระเพาะอาหาร
  • ไม่มีความอยากอาหาร เบื่ออาหารได้ และทำให้น้ำหนักลง ผอมลง

หลักในการ รักษา โรคกระเพาะอาหาร อย่างถูกวิธี

โรคกระเพาะอาหารนั้น คุณสามารถที่จะรักษา ให้หายได้ เพราะถ้าหากเราได้รับการดูแลและรักษา ที่ดี และผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการใช้ชีวิตของตนเอง ซึ่งถ้าหากปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ของตนเองแล้ว อาการยังไม่ดีขึ้นรีบพบแพทย์ทันทีไม่ควรปล่อยทิ้งไว้ค่ะ เพื่อเข้ารับการตรวจเพิ่มเติม ได้แก่ การตรวจโดยการส่องกล้อง ระบบทางเดินอาหาร เพื่อให้ทรายสาเหตุ และรับการรักษาได้อย่างถูกวิธี

ในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม และโภชนาการ รวมไปถึงการรับประทานอาหาร ให้ตรงเวลาทุกมื้อ และ รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย ๆ ได้ ก็ช่วยได้เช่นกันค่ะ

พฤติกรรมที่ปรับแล้ว ดีต่อ โรคกระเพาะ

  • งดดื่มแอลกอฮอล์ และ เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมคาเฟอีน
  • งดสูบบุหรี่ เพราะว่าเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิด แผลที่ลำไส้เล็ก ส่วนต้นได้ค่ะ
  • ไม่เครียด หรือ วิตกกังวล และควรที่จะพักผ่อน ให้เพียงพอ
  • รับประทาน ยา ตามที่แพทย์สั่ง อย่างถูกต้อง

เราขอแนะนำให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยน พฤติกรรม การรับประทานอาหาร ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญ เพราะว่าในการเอาใจใส่ในเร่องของการรับประทานอาหารให้ตรงเวลา และควรหลีกเลี่ยงการทานอาหารรสจัด ของมัน ของทอด งดสูบบุหรี่ งดดื่มแอลกอฮอล์ ต่าง ๆ ลง ควรหมั่นออกกำลังกายสม่ำเสมอเพื่อควบคุมน้ำหนัก ไปด้วยและนี้คือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อเป็นการรักษา ที่ทำให้เรามีโอกาสหายขาดจากโรคกระเพาะอาหารได้

ถ้าชอบบทความดี ๆ เกี่ยวกับสุขภาพ ติดตามเราได้ เรายินดีให้คำแนะนำเกี่ยวกับสุขภาพ เพราะเราเชื่อว่าสุขภาพที่ดี เริ่มต้นได้จากตัวเราเองค่ะ

 

อ่านบทความเพิ่มเติม

แพ้วัคซีนเป็นยังไง อาการแบบไหน ควรรีบไปหาหมอ

สัญญาณอันตราย จาก อาการ ปวดศีรษะ

 


NEWS

สมัครรับข่าวสารต่างๆ

phone line chat_facebook